วิวัฒนาการ
การอภิบาลสุขภาพโลก
และความมั่นคงด้านสุขภาพ

โรคระบาดก่อให้เกิดการสูญเสียชีวิต เศรษฐกิจและความมั่นคงทางสังคมมาหลายยุคสมัย การระบาดมีวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่องจากอดีตถึงปัจจุบัน ทั้งจากการปรับตัวของเชื้อโรค การปรับตัวของมนุษย์ที่คิดค้นองค์ความรู้และวิชาการใหม่ๆ มาต่อสู้กับโรค สังคมความเป็นอยู่ของมนุษย์ที่เปลี่ยนแปลงไป รวมถึงการที่ประเทศต่างๆ เริ่มมีปฏิสัมพันธ์และรวมตัวกันพัฒนา ระบบสุขภาพโลกเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพที่รวมถึงการแก้ไขปัญหาโรคระบาด เนื้อหาในส่วนนี้จะขอเล่าถึงวิวัฒนาการและเหตุการณ์สำคัญในระดับโลกที่มีผลต่อการจัดระเบียบการอภิบาลโรคระบาด

ปี 541-1850
กาฬโรคแห่งจัสติเนียน หรือโรคห่า
กาฬโรคแห่งจัสติเนียน หรือโรคห่า

ไม่ปรากฎหลักฐานของการตั้งกลไกการ อภิบาลสุขภาพโลก

อ่านต่อ

ค.ศ.165
โรคระบาด อันโทนีน
โรคระบาด อันโทนีน

โรคระบาดอันโทนีน หรืออีกชื่อหนึ่งว่า the Plague of Galen เป็นโรคฝีดาษหรือไข้ทรพิษที่ระบาดในอาณาจักรโรมัน สาเหตุการเกิดนั้นเชื่อกันว่ามาจากกองทัพโรมันที่เดินทางกลับมาจากแถบตะวันออกใกล้ (Near East หมายถึงประเทศแถบเอเชียตะวันตก ตุรกี อียิปต์ ไปจนถึงจักรวรรดิออตโตมัน) ทั้งนี้ยังไม่ทราบต้นตอการเกิดที่แน่ชัด เหตุการณ์ในครั้งนี้สร้างความเสียหายใหญ่หลวงแก่กรุงโรมมาก มีผู้เสียชีวิตถึงวันละ 2,000 คน ประมาณยอดผู้เสียชีวิตรวมทั้งหมดประมาณ 5 ล้านคน การแพร่ระบาดในครั้งนี้ยังส่งผลกระทบอย่างใหญ่หลวงถึงเรื่องของเส้นทางการค้าขาย Indo-Raman Trade ในแถบมหาสมุทรอินเดียด้วย

อ่านต่อ

ปี 1851-1925
เกิดอหิวาตกโรค
ยุคของการรวมตัวของประเทศต่างๆ เพื่อหารือการควบคุมโรคระบาดร่วมกัน

ประเทศต่างๆ เริ่มมีการพบปะพูดคุยกันเป็น ครั้งคราว (Adhoc multilateral) ต่อมาเริ่ม มีการพูดคุยกันสม่ำเสมอในประเด็นที่ต้อง การการทำงานร่วมกัน (Institutional mu ltilateral) และประเด็นการควบคุมโรคระ บาดเป็นวาระหนึ่งที่มีการหยิบยกมาหารือ ร่วมกัน

อ่านต่อ

ปี 1926
เกิดกฎหมายระหว่างประเทศ International Sanitary Convention

นับเป็นความเคลื่อนไหวและจุดเริ่มต้นที่สำ คัญการเริ่มจัดการโรคระบาดอย่างเป็นระ บบในระดับโลก มีการปรับปรุงในเวลาต่อมา จนเป็นกฎอนามัยระหว่างประเทศที่ใช้อยู่ใน ปัจจุบัน เพื่อให้ทันกับบริบทของการระบาด ในระดับโลก

อ่านต่อ

ปี 1946
กำเนิดองค์การอนามัยโลก

การจัดตั้งองค์การอนามัยโลกขึ้น เพื่อเป็น หน่วยงานดูแลด้านสุขภาพให้แก่ประชาคม โลก โดยเป็นหน่วยงานที่มีภารกิจเฉพาะภาย ใต้สหประชาชาติ UN specialized Agency

อ่านต่อ

ปี 1951-1969
ไข้หวัดใหญ่เอเชีย
วิวัฒนาการของ International HealthRegulation (IHR)

เมื่อมีการจัดตั้งองค์การอนามัยโลก มีการ ปรับปรุง The International Sanitary Regulations เพื่อรวบรวมข้อตกลงระหว่าง ประเทศหลายฉบับภายใต้ International Sanitary Convention ให้มาอยู่ในเครื่อง มือเดียวกัน

อ่านต่อ

ปี 1995-2002
เสนอแก้ไข ทบทวน IHR ท่ามกลางความเห็นที่หลากหลายของประเทศสมาชิกWHO

เมื่อมีการจัดตั้งองค์การอนามัยโลก มีการ ปรับปรุง The International Sanitary Regulations เพื่อรวบรวมข้อตกลงระหว่าง ประเทศหลายฉบับภายใต้ International Sanitary Convention ให้มาอยู่ในเครื่อง มือเดียวกัน

อ่านต่อ

ปี 2003
เกิดโรคซาร์ส
แต่งตั้ง Intergovernmental WorkingGroup (IGWG) เพื่อรับมือกับโรคซาร์ส

จากการระบาดของ SARS ทำให้ทั่วโลกเกิด การตื่นตัวและทำให้มีการแต่งตั้ง Intergo vernmental Working Group (IGWG) เพื่อเร่งรัดการดำเนินงานแก้ไข IHR

อ่านต่อ

ค.ศ.1500
Vicente Yáñez Pinzón ได้เดินทางเข้าสู่บราซิล

นักสำรวจชาวสเปน Vicente Yáñez Pinzón ได้เดินทางเข้าสู่บราซิลแต่ถูกขัดขวางโดยถูกอ้างว่ามีในสนธิสัญญาบายาโดลิด

อ่านต่อ

ปี 2005
รับรองกฎอนามัยระหว่างประเทศ

การประชุมสมัชชาอนามัยโลกสมัยที่ 58 และมีการบังคับใช้จะเห็นได้ว่ากระบวนการ แก้ไขปรับปรุงและการเจรจาต่อรองใช้เวลา นานถึง 10 ปีและมีการเร่งรัดกระบวนการ ด้วยความเร่งรีบในเวลารวมประมาณ 18 เดือน

อ่านต่อ

ปี 2006-2014
เกิดไข้หวัดหมู
สร้างคำมั่นสัญญาร่วมกันผ่านการประเมินและพัฒนาขีดความสามารถตามมาตรฐานIHR

จากการระบาดของ SARS ทำให้ทั่วโลกเกิด การตื่นตัวและทำให้มีการแต่งตั้ง Intergo vernmental Working Group (IGWG) เพื่อเร่งรัดการดำเนินงานแก้ไข IHR

อ่านต่อ

หลัง 2014
กลุ่มประเทศที่มีอิทธิพลเคลื่อนไหวและผลักดันความมั่นคงด้านสุขภาพ Global Health Security Agenda (GHSA)

นอกจากความเคลื่อนไหวภายใต้องค์การ อนามัยโลกแล้วยังมีความเคลื่อนไหวสำคัญโดย กลุ่มประเทศที่มีอิทธิพลทางการเมืองในระดับโลก

อ่านต่อ